บันทึกอนุทิน
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood
อารจารย์ผู้สอน อ.จินตนา สุขสำราญ
ประจำวันอังคารที่ 22 กันยายน 2558
เรียนครั้งที่ 6 เวลา 13.30 -17.30 น.
กลุ่ม 102 ห้อง 223
Knowledge (ความรู้)
- กิจกรรมมการนำเสนองานคู่
1. เรื่อง สัตว์ (Animal)
เรียนเกี่ยวกับธรรมชาติรอบตัว สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตรวมไปถึงเรื่องความสัมพันธ์กัน การดูแลสิ่งมีชีวิต
การจัดกิจกรรม อาจจะจัดผ่านกิจกรรมแบบบูรณาการ โดยการนำเปลือกไข่มาทำเป็นโมเสก เล่านิทานเกี่ยวกับสัตว์ อีกทั้งการทำกิจกรรมนี้สามารถเชื่อมโยงให้เข้ากับวิทยาศาสตร์ได้เรื่อง พลังงานลม (Wind Energy)
เรียนเกี่ยวกับธรรมชาติรอบตัว สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตรวมไปถึงเรื่องความสัมพันธ์กัน การดูแลสิ่งมีชีวิต
การจัดกิจกรรม อาจจะจัดผ่านกิจกรรมแบบบูรณาการ โดยการนำเปลือกไข่มาทำเป็นโมเสก เล่านิทานเกี่ยวกับสัตว์ อีกทั้งการทำกิจกรรมนี้สามารถเชื่อมโยงให้เข้ากับวิทยาศาสตร์ได้เรื่อง พลังงานลม (Wind Energy)
2. พลังงานลม
เป็นพลังงานธรรมชาติ สะอาด บริสุทธิ์
ไม่มีวันหมดไปจากโลก ของเล่นที่ใช้พลังงานลม เช่น กังหันลม มีอุปกรณ์ดังนี้
กระดาษสี ไม้ไผ่ หลอดกาแฟ กาว วิธีการเล่น ให้เด็กถือแล้วให้วิ่งไปปะทะกับลม
จากนั้นใบพัดก็จะหมุน ที่ใบพัดหมุนนั้น
เกิดจากอากาศที่เคลื่อนที่ไปกระทบกับวัตถุจึงทำให้กังหันลมหมุน
3. เรื่อง ดิน หิน ทราย
จะอยู่ในขอบเขตเรื่องของธรรมชาติรอบตัว เรียนเกี่ยวกับลักษณะและความแตกต่างระหว่าง หิน ดิน ทราย รูปร่างของแต่ละชนิดของ หิน ดิน ทราย
กิจกรรม อาจจะให้เด็กออกไปสำรวจ หิน ดิน ทราย ภายในโรงเรียน ในด้านนี้เด็กจะได้ทักษะการสังเกต ความแตกต่างของ หิน ดิน ทราย อีกทั้งยังได้เรียนรู้ทั้ง 4 ด้าน
1.ด้านร่างกาย เด็กได้สัมผัสหิน ดิน ทราย
2.ด้านอารมณ์ เด็กมีความสุขกับการทำกิจกรรม และการสำรวจ
3.ด้านสังคม เด็กได้ทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน ๆ
4.ด้านสติปัญญา ได้จากการทดลองต่าง ๆ ในเรื่องของ หิน ดิน ทรายดิน เกิดจากซากพืช ซากสัตว์ที่ทับถมกัน หิน เกิดจาก การเกาะตัวของแร่ตั้งแต่ 1 ชนิดขึ้นไปทราย มีลักษณะร่วนซุย ไม่เกาะตัวเป็นก้อน
จะอยู่ในขอบเขตเรื่องของธรรมชาติรอบตัว เรียนเกี่ยวกับลักษณะและความแตกต่างระหว่าง หิน ดิน ทราย รูปร่างของแต่ละชนิดของ หิน ดิน ทราย
กิจกรรม อาจจะให้เด็กออกไปสำรวจ หิน ดิน ทราย ภายในโรงเรียน ในด้านนี้เด็กจะได้ทักษะการสังเกต ความแตกต่างของ หิน ดิน ทราย อีกทั้งยังได้เรียนรู้ทั้ง 4 ด้าน
1.ด้านร่างกาย เด็กได้สัมผัสหิน ดิน ทราย
2.ด้านอารมณ์ เด็กมีความสุขกับการทำกิจกรรม และการสำรวจ
3.ด้านสังคม เด็กได้ทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน ๆ
4.ด้านสติปัญญา ได้จากการทดลองต่าง ๆ ในเรื่องของ หิน ดิน ทรายดิน เกิดจากซากพืช ซากสัตว์ที่ทับถมกัน หิน เกิดจาก การเกาะตัวของแร่ตั้งแต่ 1 ชนิดขึ้นไปทราย มีลักษณะร่วนซุย ไม่เกาะตัวเป็นก้อน
4. เรื่อง พืช
จะอยู่ในสาระธรรมชาติรอบตัว เราสามารถจัดกิจกรรมโดยใช้พืช เป็นสื่อในการทำกิจกรรมได้ เช่น กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ อาจจะแจกดอกไม้ให้กับเด็ก เปิดเพลง เมื่อเพลงหยุดให้จับกลุ่มดอกไม้ที่มีสีเดียวกัน เป็นต้น
กิจกรรมที่เสริมประสบการณ์เกี่ยวกับเด็ก อาจจะให้เด็กปลูกผัก เช่นถั่วงอก หรือพืชที่ขึ้นได้ง่าย ให้เด็กสังเกตการเจริญเติบโต
กิจกรรมแยกประเภทของเมล็ดพืช จะส่งเสริมให้เด็กเกิดการสังเกต การเปรียบเทียบ เกิดความคิดรวบยอด ขั้นตอนการทำกิจกรรมมีดังนี้
1.นำเมล็ดพืชต่าง ๆ ใส่ภาชะ
2.แยกประเภท
3.แยกลักษณะที่แตกต่างจากเดิม เช่น สี ขนาด ชนิด 4.อภิปรายแต่ละกลุ่มมีวิธีการแยกรายละเอียดอย่างไร
จะอยู่ในสาระธรรมชาติรอบตัว เราสามารถจัดกิจกรรมโดยใช้พืช เป็นสื่อในการทำกิจกรรมได้ เช่น กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ อาจจะแจกดอกไม้ให้กับเด็ก เปิดเพลง เมื่อเพลงหยุดให้จับกลุ่มดอกไม้ที่มีสีเดียวกัน เป็นต้น
กิจกรรมที่เสริมประสบการณ์เกี่ยวกับเด็ก อาจจะให้เด็กปลูกผัก เช่นถั่วงอก หรือพืชที่ขึ้นได้ง่าย ให้เด็กสังเกตการเจริญเติบโต
กิจกรรมแยกประเภทของเมล็ดพืช จะส่งเสริมให้เด็กเกิดการสังเกต การเปรียบเทียบ เกิดความคิดรวบยอด ขั้นตอนการทำกิจกรรมมีดังนี้
1.นำเมล็ดพืชต่าง ๆ ใส่ภาชะ
2.แยกประเภท
3.แยกลักษณะที่แตกต่างจากเดิม เช่น สี ขนาด ชนิด 4.อภิปรายแต่ละกลุ่มมีวิธีการแยกรายละเอียดอย่างไร
ครูควรสอนอย่างไร
ครูควรสอนให้ตรงกับพัฒนาการของเด็กในแต่ละวัย และต้องสอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ ซึ่งจะทำให้เกิดการเรียนรู้
และเกิดการเปลี่ยนแปลพฤติกรรม
Teach Techniques (เทคนิคการสอน)
-สอนโดยการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้ลงมือปฏิบัติ
- สอนโดยใช้คำถามกระตุ้นผู้เรียน
- สอน โดยใช้โปรแกรม Power Point
- สอนโดยใช้คำถามกระตุ้นผู้เรียน
- สอน โดยใช้โปรแกรม Power Point
Application (การประยุกต์ใช้)
- สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนในเรื่องต่าง
ๆ เช่น เรื่องสัตว์ พืช พลังงาน อีกทั้ง ยังรู้ว่าเราควรสอนอย่างไร สอนเเบบไหน เพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้ และเข้วใจง่าย
The skills (ทักษะที่ได้)
- ทักษะการฟัง
- ทักษะการตอบคำถาม
- ทักษะการนำเสนองาน
- ทักษะการตอบคำถาม
- ทักษะการนำเสนองาน
Teaching Evaluation (ประเมินการสอน)
Self : มาเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจเรียน มีความเข้าใจในเนื้อหาวิชาที่เรียน
Friends : มาเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมและช่วยเหลือกันในการตอบคำถาม
Teaching : อาจารย์แต่งกายเรียบร้อย
เข้าสอนตรงเวลา มีเทคนิคการสอนที่หลากหลายและน่าสนใจ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น